文章標籤 ‘老子’ 的彙整
-
ประวัติเหลาจื้อโดยย่อ
[show_avatar email=tan_chenghoon@yahoo.com align=right avatar_size=90]เหลาจื้อ (เล่าจื้อ) แซ่หลี่ชื่อตัวว่าเอ่อร์ ฉายาเปอะหยาง หรือตัน (เหลาตัน) เป็นคนอำเภอขู่รัฐฉู่ (ปัจจุบันคือเมืองลู่อี้ในมณฑลเหอ หนาน) เกิดในช่วงหลังยุคชุนชิว (ประมาณก่อนคริตศักราชปี 571) ท่านเคยรับราชการเป็นบรรณารักษ์ ที่หอสมุดหลวงของราชวงศ์โจว เหลาจื้อมีอายุมากกว่าขงจื้อประมาณ 20 ปี ในเวลานั้นขงจื้อเคยเรียนถามพิธีกรรมกับเหลาจื้อในสมัยราชวงศ์โจว เมื่อกลับมายังประเทศหลู่ได้ยกย่องเหลาจื้อกับนักเรียนว่า “ท่านเหลาจื้อที่เราพบนั้นดุจเทพเจ้ามังกรเห็นหัวไม่เห็นหาง ความรู้ของท่านนั้นลึกล้ำยากที่หยั่งวัดได้ นับเป็นครูของเราอีกท่านหนึ่ง”
เมื่อราชวงศ์โจวถึงยุคเสื่อมโทรม เหลาจื้อลาออกจากราชการมุ่งหน้าไปทางทิศตะวันตกผ่านด่าน”หานกู่”เข้าสู่ประเทศฉีน นายด่านชื่ออินซี่ขอร้องให้หยุดพักที่ด่านเพื่อเขียนหนังสือปรัญชาแห่งชีวิต ท่านจึงได้เขียนหนังสือชื่อว่า “เหลาจื้อ” ขึ้นมา 1 เล่มมีอักษรทั้งหมด 5,000 คำ ต่อมาเรียกว่าคัมภีร์“เต้าเตอะ” หลังจากนั้นไม่มีใครทราบบั้นปลายของชีวิตท่านเลย เหลาจื้อคือนักคิดและนัก ปรัญชาที่ยิ่งใหญ่คนหนึ่งของจีน เป็นต้นกำเหนิดของปรัญชาเต๋า ต่อมาถูกยกย่องให้เป็นต้นตระกูลแซ่ลี้ของฮ่องเต้ในสมัยราชวงศ์ถัง แล้วถูกฮ่องเต้ราชวงศ์ถังแต่งตั้งให้เป็นเทพแห่งเทพเจ้า (ไท่ซ่างเหลาจวิน) เป็นหนึ่งในร้อยของผู้มีชื่อเสียงด้านวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์โลก ผลงานที่เป็นแก่นสำคัญมากที่สุดคือเหตุความเรียบง่าย สนับสนุนปกครองโดยไม่ปกครอง ซึ่งหลักคำสอนดังกล่าวเป็นรากฐานต่อการพัฒนาปรัชญาอันลึกซึ้งของจีนมาอย่างยาวนาน จึงถูกยกย่องให้เป็นศาสดาแห่งศาสนาเต๋า
เหลาจื้อใช้คำว่า “เต๋า” อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลง(พัฒนาการ)ของสรรพสิ่งในจักรวาล มีแนวคิดว่า”เต๋ากำเหนิดหนึ่ง หนึ่งกำเหนิดสอง สองกำเหนิดสามและสามกำเหนิดสรรพสิ่ง” เต๋าก็คือ”ชีวิตแห่งวิถีธรรมชาติ” เพราะ ”คนเคารพกฏของดิน ดินเคารพกฏของฟ้า ฟ้าเคารพกฏของเต๋าและเต๋าเคารพกฏของธรรมชาติ” “เต๋าเป็นการมองกฎแห่งธรรมชาติอย่างเป็นกลาง มีความเป็นอิสระ มั่นคงไม่เปลี่ยนแปลงและการปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอโดยไม่ย่อท้อ” คือความหมายอันเป็นนิรันดร์
-
Introduction to Lao zi
Lao zi, name Li Er, the word ‘Bo Yang’, also name Lao Dan. was born in about around BC 571 the later period of spring and autumn (Chunqiu period ), Chu state Ku county (now Henan LuYi). Had done Zhou dynasty keep hidden chamber of history, in charge of the royal scheme. His about more than twenty years old greater than Confucius, Confucius had to zhou dynasty asked him ritual, back after Lu state to his students say: I see Lao tze, like be secretive in one, knowledge deep and unpredictable, it is my teacher!
Zhou dynasty decline, Lao zi resign the goverment post then from west going to ‘han-gu-guan’ into the qin state, the defend of gate duty officials name YinXi ask for stay. Written have the “Lao zi” five thousand words, also called the “Tao Te Ching”. Then his “Left vanish into thin air”.
Was China ancient times a great philosopher and thinker, founder of the Taoist school. By the Tang dynasty emperor after think those named ‘Li’ account ancestor, and be Tang emperor Wu after sealing for the very high lord (Tai Shang lao jun). Is the world cultural celebrities, the world one hundred celebrities. His opus essence is simplicity dialectics, opinion govern by doing nothing that goes against nature, the theory to the development of Chinese philosophy has a profound effect. His is be honored as Taoism ancestor.“Lao zi” with ‘way’ to explain the evolution of the universe, that the tao bring forth one, one bring forth two, two bring forth three, three bring for all things on earth. ‘Tao’ is ‘the life command and often nature’. Human being way to earth, earth way to heaven, heaven way to Tao, Tao way to natural rule. ‘Tao as the objective laws of nature, but also has a independent don’t change, go not almost’ eternal significance.
-
老子簡介 (Introduction to Lao zi /ประวัติเหลาจื้อโดยย่อ)
老子,姓李名耳,字伯陽,謚曰聃,又稱著老聃。楚國苦縣(今河南鹿邑)人, 生于春秋後期(約公元前571年左右), 他曾做過周王室的守藏室之史, 掌管王室圖籍。老子約比孔子大二十歲,孔子曾到周朝向他問禮,回鲁國後向他的學生說:我所見的老子,好像神龍見首不見尾,學識淵深而莫測,真是我老師呀!
周王室衰敗時,老子辞官西出函谷關入秦,為關令尹喜所留,著有《老子》五千言,又稱《道德经》,隨後便“莫知其所終”。是中國古代偉大哲學家和思想家、道家學派創始人。被唐朝帝王追認為李姓始祖,又被唐皇武后封為太上老君。是世界文化名人,世界百位歷史名人之一,其作品精華是朴素辨証法,主张無為而治,其學說對中國哲學發展具有深刻影嚮,在道教中被尊為道祖。
《老子》以“道”解釋宇宙萬物的演變,認為“道生一,一生二,二生三,三生万物”,“道”乃“夫莫之命(命令)而常自然”,因而“人法地,地法天,天法道,道法自然”。“道為客觀自然規律,同時又具有獨立不改,周行而不殆”的永恒意義。